|
|
|
ประชากรตำบลโคกกระเทียม มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย อุปนิสัยเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ โอบอ้อมอารี ตั้งหมู่บ้านอยู่เป็นกลุ่ม มีความสัมพันธ์กันแบบเครือญาติส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ |
|
|
|
|
 |
|
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ในเขตตำบลโคกกะเทียม มีวัดและสถานที่ตั้งสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ดังนี้ |

 |
วัดโคกกะเทียม |
ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 2 |

 |
วัดคอกกระบือ |
ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 6 |

 |
วัดหนองปลิง |
ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 8 |

 |
ศาลเจ้าพ่อขุนไกร |
ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 7, 8 |
|
|
|
 |
|
โรงเรียน จำนวน 3 แห่ง |

 |
โรงเรียนบ้านโคกกะเทียม |

 |
โรงเรียนวัดคอกกระบือ |

 |
โรงเรียนวัดหนองปลิง |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลโคกกะเทียม |
|
|
|
|
|
 |
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกกะเทียม |
|
|
ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปลิง |
|
|
ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
 |
|

 |
ประเพณีกำฟ้า |

 |
ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ในวันสงกรานต์ |

 |
ประเพณีลอยกระทง |
|
|
|
|
|
|
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น/ปราชญ์ชาวบ้าน |
|
ชาวไทยพวนบ้านโคกกะเทียมสืบเชื้อสายมาจาก ชาว "พวน" ซึ่งมีถิ่นเดิมตั้งอยู่ที่เมืองเชียงขวาง ประเทศลาว ได้อพยพมาอยู่บ้านโคกกะเทียมเมื่อ พ.ศ. 2378 “โคกกะเทียม” ตามชื่อบ้านเดิมสมัยอยู่เมืองเชียงขวาง และอีกนัยหนึ่งสถานที่ตั้งหมู่บ้านนี้เดิมเต็มไปด้วยต้นพลับพลึง ซึ่งคนพวนเรียกว่าต้นกะเทียม ประกอบกับที่ตั้งหมู่บ้านเป็นที่ดอน จึงเป็นเหตุที่ใช้ ชื่อบ้านโคกกะเทียม |
|
 |
|
ประเพณีแห่งชีวิต ประเพณีกำฟ้า |
|
ประเพณีกำฟ้า เป็นประเพณีเกี่ยวกับวิถีชีวิตชาวไทยพวนที่ถือปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องถึงปัจจุบัน ชาวพวนมีอาชีพทางด้านการเกษตร การทำนาในสมัยก่อน ต้องพึ่งพาธรรมชาติ ชาวนามีความเกรงกลัวฟ้า นัอถือฟ้าฝนตามธรรมชาติ สำนึกในบุญคุณของฟ้าที่ให้น้ำฝน เกิดความอุดมสมบูรณ์จึงเกิดประเพณีกำฟ้า |
|
 |
|
|